วันอาทิตย์ที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2556

                
รถขับเคลื่อนอัตโนมัติ (AGV)
                เป็นรถที่มีการขับเคลื่อนโดยไม่มีคนขับ  เคลื่อนไปตามทางบนเส้นลวดที่ฝังไว้ใต้พื้นของโรงงาน  สามารถควบคุมเส้นทางเดินของรถได้โดยคอมพิวเตอร์  ในปัจจุบันมีการใช้อัลกอริทึม (algorithms) หลาย ๆ แบบเพื่อการคำนวณเส้นทางของลวดที่จะฝังลงบนพื้นและคำนวณเส้นทางที่น่าพอใจที่สุดของรถจากจุดเริ่มต้นไปสู่จุดหมาย  เส้นทางที่กล่าวถึงอาจเป็นแบบแสง (passive  fluorescent) หรือแบบแม่เหล็ก (magnetic  line) ถูกทาสีบนพื้นหรือการใช้ลวดนำทาง (active  guide  wire) ฝังไปในพื้น
                ส่วนประกอบของการนำทางของ AGV ประกอบด้วยตัวนำทิศทางระบบซึ่งปล่อยรถออกและควบคุมการนำทาง  การติดต่อกับรถทำได้โดยลวดนำทางซึ่งฝังไว้ใต้พื้น  ตัวนำระบบถูกติดต่อกับรถทั้งหมดตลอดเวลา  แต่ละคันมีความถี่นำทางของมันเองและตามลวดนำทางไปกับการช่วยของตัวตรวจรู้ (sensor) ความถี่การติดต่อระดับสูงกว่าถูกใช้สำหรับการถ่ายทอดข้อมูลระหว่างตัวนำระบบกับแผงคอมพิวเตอร์ (on-board computers) ดังนั้นตัวนำระบบจะได้รับการแจ้งตลอดเวลาเกี่ยวกับตำแหน่งและสภาวะของการยกของรถ  ตำแหน่งของรถสามารถแสดงได้บนสถานี (terminal) วัสดุซึ่งอยู่บนรถถูกกำหนดโดยการอ่านสัญลักษณ์บาร์โค๊ด (bar code) และข่าวสารถูกถ่ายทอดไปโดยช่องของข้อมูลไปยังตัวนำระบบ  การเดินทางของรถทั่วทั้งโรงงานถูกกำหนด ณ จุดยุทธศาสตร์เนื่องจากผลตอบสนองในพื้นและตัวรับในรถ ณ จุดที่กำหนดรถได้รับคำแนะนำในการติดตามเส้นทางที่ให้ไว้  หน้าที่ที่จำเป็นของตัวนำระบบมีดังนี้
                      1. การเลือกของรถและการจัดการกับรถที่ว่าง
                      2. การควบคุมของการจัดสรรลำดับของรถ
                      3. การเก็บข้อมูลของตัวขนถ่าย
                      4. การควบคุมของทิศทางที่ถูกต้อง
               
การกระจายรถแบบอัตโนมัติโดยคนขับ
                การปฏิบัติการด้านการผลิตกำลังต้องการระบบการขนถ่ายวัสดุที่คล่องแคล่วอย่างสูง จึงมีบ่อยครั้งที่มีการใช้รถที่มีคนขับ  เช่น รถยกปากซ่อม  รถเหล่านี้สามารถที่จะถูกพัฒนาได้อย่างเต็มที่เพื่อให้มีความยืดหยุ่นสูงกับการช่วยของสถานี (terminal) ที่เคลื่อนที่ได้ ซึ่งถูกติดต่อโดย วิทยุ หรือ แสงอินฟาเรด  เชื่อมไปยังคอมพิวเตอร์ สองวิธีของการควบคุมการปฏิบัติการปล่อยรถถูกใช้คือตัวรับและตัวส่งการปฏิบัติงานด้วยเสียง (voice  operated  receiver / transmitters) หรือสถานีคอมพิวเตอร์เคลื่อนที่ได้ (portable  computer  terminals) วิธีการที่จะให้รถออกจากที่เก็บของมันถูกจัดการโดยคอมพิวเตอร์ควบคุมซึ่งมีอัลกอริทึมในการหาเส้นทางที่น่าพึงพอใจมากที่สุด (optimization  algorithm) เพื่อลดระยะทางการเดินทางโดยรถ



               
รถสำหรับการเคลื่อนวัสดุแบบอิสระ
                ในปัจจุบันความพยายามได้เริ่มในการพัฒนารถที่เป็นอิสระสำหรับการเคลื่อนย้ายวัสดุ  มันเป็นไปได้ที่จะสร้างโรงงานการผลิตที่มีความยืดหยุ่นสูงมาก  แต่ละการรวมกันของเครื่องมือเครื่องจักรอาจจะถูกเชื่อมต่อกันตามแนวความคิดทางการผลิตที่เป็นจริง
                ระบบอิสระเป็นความสามารถในการวางแผนและบริหารตามงานที่ให้ไว้  เมื่อการวางแผนงานสามารถทำได้แล้วการบริหารก็สามารถที่จะเริ่มได้  ระบบตัวตรวจรู้ (sensor) แบบซับซ้อนถูกกระตุ้นซึ่งนำและแนะนำการเดินทางของรถ  มันเป็นสิ่งจำเป็นในการเข้าใจและแก้ปัญหาความขัดแย้งโดยใช้การช่วยเหลือของระบบฐานข้อมูลที่ใส่ไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์  ส่วนประกอบพื้นฐานของรถประสิทธิภาพสูงแบบอิสระมีดังนี้
                    1. ระบบกลไกและการขับ (Mechanics  and  drive  system)
                    2. ระบบการตรวจรู้ (Sensor  system)
                                - ตัวตรวจรู้ภายใน (internal  sensors)
                                - ตัวตรวจรู้ภายนอก (external  sensors)
                    3. ตัวนำทางและตัววางแผนการเดินทาง (Planner  and  navigator)
                                - ตัววางแผน (planner)
                                - ตัวนำทาง (navigator)
                                - ระบบชาญฉลาด (expert system)
                                - อัลกอริทึมที่ใช้ในการควบคุม (knowledge base)
                                - ความรู้เกี่ยวกับข้อมูล (data  knowledge)
                  4. โมเดลการทำงานทั่วไป (World  model)
                                - ส่วนคงที่ (static component)
                                - ส่วนไดนามิก (dynamic component)
                    5. ระบบคอมพิวเตอร์ (The computer system)

                รถขับเคลื่อนอัตโนมัติต้องมีความสามารถต่างๆดังต่อไปนี้
1. การวางแผนและเตรียมการแบบอิสระของหลักสูตรของการปฏิบัติตามงานที่ให้ไว้      เช่น การ
    ขนส่ง ชิ้นงานจากสถานที่เก็บไปยังเครื่องมือเครื่องจักร
    2. การบริหารการวางแผนและการตรวจเป็นอิสระของหลักสูตรการปฏิบัติ
    3. ความเข้าใจในสภาพแวดล้อมกับการช่วยของตัวตรวจรู้ (sensors)  และการแปล             
        ความหมายของผลลัพธ์
4. ปฏิกิริยาเป็นอิสระในการเกิดเหตุการณ์ที่ไม่เคยเห็น  เช่น ถ้ารถเจอวัตถุที่ไม่เคยเห็นเข้ามาใน
    เส้นทางของมัน รถต้องสามารถที่จะเข้าใจและหลีกเลี่ยงมัน
5. การเรียนแบบ passive และ active รถต้องสามารถเรียนจากงานที่มันทำเพื่อที่จะพัฒนา
    ความสามารถในการปฏิบัติงานของมัน

                

วันอาทิตย์ที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

รายชื่อสมาชิกไฟฟ้าอุตสาหกรรม56

รายชื่อสมาชิก
1.นายธทร ชัยชูโชค อ.ปาร์ม
2. นาย อภิวัฒน์   เจิมขวัญ   กุ้ง
3. นาย ชัยยงค์   ชูแก้ว   ปั๊ม
4. นาย วิโรจน์   เหมมาน   ลิฟ
5. นาย อาคม   เรืองกูล   แบงค์
6. นาย อนุพงษ์   เทพพรหม   ทิว
7. นายกฤษกร สุวรรณวงศ์   เอฟ
8. นายจตุพงค์ ณ สงขลา   พงค์
9.  นายจิรกิตต์ สุขเกษม   บอย
10.  นายจิรพงศ์ แจ่มศรี   เอฟ
11. นายเชิดชาย เรืองฤทธิ์   ชาย
12. นายตวิษ เพ็งศรี   บ่าว
13. นายธีรวุฒิ ศรีสวัสดิ์   วุฒิ
14. นายนพรัตน์ แก้วกำเนิด   เอ็กซ์
15. นายนันทปรีชา ปิยะ บุญสนอง   โปร
16. นายนิรันดร์ เสมอพบ   แบ
17. นายนิโรจน์ หวันปรัตน์   ซอล

18. นายปภังกร เอียดจุ้ย   กิ๊ฟ
19. นายปรินทร์ ผุดผ่อง   บอล
20. นายพิชชากร มีบัว   กร
21. นายพีระพงศ์ จันทร์ชู   พงศ์

22. นายภาคภูมิ จุลนวล   เจ
23. นางสาวเยาวเรศ ร่วมพรภาณุ   โรส
24. นายรชต อารี   รอน
25. นายรุสดี วาลี   ซี
26. นายวสุ ราชสีห์   หนัง
27. นายวัชรินทร์ เขียนวารี   ปอนด์
28. นายวิฆเนศ ณ รังษี   หมู
29. นายวิโรจน์ เหมมาน   ลิฟ

30. นายศุภวัฒน์ ไชยของพรม   รุส
31. นายสมประสงค์ วงศ์สุวรรณ   ทู
32. นายสมศักดิ์ มากเอียด   กล้วย

33. นายสราวุฒิ เกบหมีน   ซอล
34. นายสานิต มิตสุวรรณ   ปอ
35. นายสุรเดช สม่าแห   ยา
36. นายสุรศักดิ์ สะเกษ   โจ้
37. นายเสะมาดี ตูแวดาแม   ดี
38. นายอนิรุตต์ ภาระบุญ   โต๋
39. นายอภิเดช ทองอินทร์   โหนด
40. นายอภิสิทธิ์ ยะโกบ   ดุล
41. นายอับดุลรอมัน บูกา  
42. นายอับดุลเลาะ กาโฮง   เลาะ
43. นายอาจณรงค์ ราชูภิมนต์   มิค
44. นายอานนท์ นาควิเชียร   นนท์
45. นายอาลียะ สะอุ   ฟาน
46. นายอาหามะซุบฮี จะแน   ม
47. นายอิสมาแอ   มะยี   
48. นายจตุรงค์ หิรัญกูล   นิว
49. นายเกรียงศักดิ์   บุญประเสริฐ   เบียร์
50. นายพุฒิพงศ์   หนูนอง   เพชร
51. นายกิตติศักดิ์ ระบิงเกา

52.นายวงศธร อินทมะโน พี่หมีด

การเชื่อมเครือข่ายแบบผสม(Mesh Network)

Mesh network เป็นเครือข่ายพื้นที่ท้องถิ่น (LAN) ที่จัดวางหนึ่งของสองการเชื่อมต่อที่จัดกลุ่มไว้ ที่มี topology แบบตาข่ายเต็มที่ (full mesh) หรือ ตาข่ายบางส่วน (partial mesh) ใน topology แบบตาข่ายเต็มที่ แต่ละ node (เครื่องเวิร์กสชันหรืออุปกรณ์อื่น) ได้รับการเชื่อมต่อโดยตรงกับ node อื่น แต่ละ node ใน topology แบบตาข่ายบางส่วน บาง node ได้รับการเชื่อมต่อกับ node อื่นทั้งหมด แต่บางส่วนของ node ได้รับการเชื่อมต่อเฉพาะกับ node อื่นเหล่านั้นซึ่งมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลมากที่สุด
ภาพนี้แสดงเครือข่ายแหสมบูรณ์ที่มี 5 node แต่ละ node แสดงเป็นรูปทรงกลม และการเชื่อมต่อแสดงเป็นเส้นตรง การเชื่อมต่อสามารถประกอบด้วยสายเชื่อมโยงหรือไร้สาย
เครือข่ายตาข่าย มีความน่าเชื่อถือและเสนอให้อย่างเหลือเฟือ ถ้า node หนึ่งไม่ทำงาน ที่เหลือยังคงสามารถสื่อสารกับ node อื่นได้โดยตรงหรือผ่าน node ตัวกลางหนึ่งตัวหรือมากกว่า เครือข่ายตาข่ายทำงานได้ดี เมื่อ node อยู่ในตำแหน่งที่กระจัดกระจายที่ไม่มีสายร่วมวางอยู่ใกล้
อุปสรรคสำคัญของ topology แบบตาข่าย คือค่าใช้จ่าย เพราะต้องการสายเคเบิลและการเชื่อมต่อจำนวนมาก ในบางสถานการณ์ เครือข่ายวงแหวน (ring network) หรือเครือข่ายดาว (star network) อาจจะพิสูจน์ถึงประสิทธิผลต้นทุนมากกว่าเครือข่ายตาข่าย ถ้า node ทั้งหมดวางอยู่ใกล้สายร่วม topology ของเครือข่ายบัส (bus network) มักจะเป็นทางเลือกดีที่สุดในด้านต้นทุน
                                                                                                                                                                                   

วันอาทิตย์ที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

ใบงานที่ 3

เทคโนโลยี Wifi
http://wifi.rmutp.ac.th/wp-content/uploads/2011/11/tecwifi.gifใน ช่วงหลายปีที่ผ่านมา คอมพิวเตอร์ได้มีการพัฒนาทางด้านเนตเวิร์ก ไม่ว่าจะเป็นทางด้านความเร็วในการสื่อสาร หรือรูปแบบการให้บริการแบบใหม่ และความง่ายในการเชื่อมต่อ ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นแรงผลักดันให้การพัฒนา ทางด้านเน็ตเวิร์กรวดเร็วมากขึ้นเทคโนโลยีเครือข่ายไร้สาย
    ในช่วงหลายปีที่ผ่านมาได้มีการพัฒนาแบบก้าวกระโดดของระบบ คอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะการพัฒนาทางด้านเน็ตเวิร์ก ไม่ว่าจะเป็นความเร็วในการสื่อสาร รูปแบบการให้บริการใหม่ๆ ความง่ายในการเชื่อมต่อ (ระบบปฏิบัติการช่วยสนับสนุน) การพัฒนาแบบก้าวกระโดดนี้มีผลจากการใช้งานของผู้ใช้มากขึ้น รวมถึงผู้ให้บริการต่างๆ ได้จัดบริการใหม่ๆ ที่รองรับการทำงานบนอินเทอร์เน็ตมากขึ้น สิ่งเหล่านี้จึงเป็นแรงผลักดันให้การพัฒนาทางด้านเน็ตเวิร์กรวดเร็วมากขึ้น และใกล้ตัวผู้ใช้มากขึ้นด้วยเช่นกัน
    หากพูดถึงการส่งข้อมูลผ่านอากาศของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ไม่ว่าการใช้งานภายในออฟฟิศ บ้าน รวมถึงสถานที่ต่างๆ ยังเรียกได้ว่าเป็นสิ่งใหม่มาก เพราะมาตราฐานแรกสำหรับเน็ตเวิร์กแบบไร้สายก็เพิ่งออกมาในช่วงปี 2002 นั่นคือ 802.11b ซึ่งมาตราฐานนี้มีความเร็วในการรับส่งข้อมูลสูงสุดที่ 11 เมกะบิตต่อวินาที (Mbps) ในทางทฤษฎี แต่การใช้งานจริงนั้น ความเร็วจะไม่ถึงความเร็วสูงสุดที่มาตราฐานกำหนดขึ้น ซึ่งมีผลกระทบมากมายทั้งจาก เครื่องใช้ไฟฟ้ารอบข้าง อุปกรณ์มือถือ เครื่องไมโครเวฟ และรูปแบบของอาคารด้วยเช่นกัน
    ในปี 2004 เดือนมิถุนายนได้มีมาตราฐานเครือข่ายไร้สายใหม่ภายใต้ชื่อ 802.11g ซึ่งรองรับความเร็วสูงสุดที่ 54 Mbps แต่ยังคงทำงานที่ความถี่สัญญาณ 2.4 GHz เช่นเดียวกับ 802.11b และทั้งสองมาตราฐานนี้ทำงานร่วมกันได้เช่นกัน (ต่างจากมาตราฐาน 802.11a ที่ความเร็ว 54 Mbps เช่นกันแต่ระยะทำงานสั้นกว่าและไม่สามารถใช้งานร่วมกับ 802.11b ได้) ร่วมถึงมีบางผลิตภัณฑ์ใช้เทคโนโลยีเฉพาะตัวเข้ามาเสริมทำให้ความเร็วเพิ่ม ขึ้นถึง 108 Mbps แต่ต้องทำงานร่วมกันเฉพาะอุปกรณ์ที่ผลิตจากบริษัทเดียวกัน
ระบบเครือข่ายไร้สายคืออะไร
    ระบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless LAN : WLAN) หมายถึง เทคโนโลยีที่ช่วยให้การติดต่อสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ 2 เครื่อง หรือกลุ่มของเครื่องคอมพิวเตอร์สามารถสื่อสารกันได้ ร่วมถึงการติดต่อสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์เครือข่าย คอมพิวเตอร์ด้วยเช่นกัน โดยปราศจากการใช้สายสัญญาณในการเชื่อมต่อ แต่จะใช้คลื่นวิทยุเป็นช่องทางการสื่อสารแทน การรับส่งข้อมูลระหว่างกันจะผ่านอากาศ ทำให้ไม่ต้องเดินสายสัญญาณ และติดตั้งใช้งานได้
    ระบบเครือข่ายไร้สายใช้แม่เหล็กไฟฟ้าผ่าน อากาศ เพื่อรับส่งข้อมูลข่าวสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ และระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์เครือข่าย โดยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้านี้อาจเป็นคลื่นวิทยุ (Radio) หรืออินฟาเรด (Infrared) ก็ได้
    การสื่อสารผ่านเครือข่ายไร้สายมีมาตราฐาน IEEE802.11 เป็นมาตราฐานกำหนดรูปแบบการสื่อสาร ซึ่งมาตราฐานแต่ละตัวจะบอกถึงความเร็วและคลื่นความถี่สัญญาณที่แตกต่างกันใน การสื่อสารข้อมูล เช่น 802.11b และ 802.11g ที่ความเร็ว 11 Mbps และ 54 Mbps ตามลำดับ สามารถศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมศึกษาได้จาก มาตราฐาน IEEE802.11 และขอบเขตของสัญญาณคลอบคุมพื้นที่ประมาณ 100 เมตร ในพื้นที่โปรง และประมาณ 30 เมตร ในอาคาร ซึ่งระยะทางของสัญญาณมีผลกระทบจากสิ่งรอบข้างหลายๆ อย่าง เช่น โทรศัพท์มือถือ ความหนาของกำแพง เครื่องใช้ไฟฟ้า อุปกรณ์อิเล็กทรอนิคส์ต่างๆ รวมถึงร่างกายมนุษย์ด้วยเช่นกัน สิ่งเหล่านี้มีผลกระทบต่อการใช้งานเครือข่ายไร้สายทั้งสิ้น
    การเชื่อมต่อเครือข่ายไร้สายมี 2 รูปแบบ คือแบบ Ad-Hoc และ Infrastructure รายละเอียดเพิ่มเติมศึกษาได้จาก รูปแบบเครือข่ายไร้สาย การใช้งานเครือข่ายไร้สายของผู้ใช้บริการทั่วไปจะเป็นแบบ Infrastructure คือมีอุปกรณ์กระจายสัญญาณ (Access Point) ของผู้ให้บริการเป็นผู้ติดตั้งและกระจายสัญญาณ ให้ผู้ใช้ทำการเชื่อมต่อ โดยผู้ใช้บริการจะต้องมีอุปกรณ์รับส่งสัญญาณขอเรียกว่า การ์ดแลนไร้สายเป็นอุปกรณ์รับส่งสัญญาณ ทำหน้าที่รับส่งสัญญาณจากเครื่องคอมพิวเตอร์ผู้ใช้ไป Access Point ของผู้ให้บริการ
    สรุปการเชื่อมต่อเครือข่ายไร้สายเป็นการเชื่อมต่อเครือข่ายของ เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าสู่ระบบเครือข่าย เหมือนกับระบบแลน (LAN) มีสายปกติ แตกต่างที่อุปกรณ์ทางกายภาพในการเชื่อมต่อเครือข่ายไม่ต้องใช้สายสัญญาณแต่ อย่างใด โดยการใช้งานเครือข่ายไร้สายสามารถใช้บริการต่างๆ บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้เหมือนเครือข่ายมีสายได้ปกติ เว้นแต่ว่าผู้ดูแลระบบเครือข่ายนั้นๆ จะปิดบริการบางบริการเพื่อความปลอดภัยของเครือข่ายได้เช่นกัน ซึ่งการเชื่อมต่อเครือข่ายไร้สายช่วยให้การเชื่อมต่อง่ายขึ้น ประหยัดค่าสายสัญญาณ และใช้งานได้ทุกที่ที่สัญญาณเครือข่ายไร้สายไปถึง
ประโยชน์เครือข่ายไร้สาย
มหาวิทยาลัยสามารถใช้เครือข่ายไร้สายโดยนักศึกษาสามารถเข้าถึงบทเรียน Online ต่างๆ ได้ สามารถสืบค้นข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตจากจุดใดจุดหนึ่งของสถาบันได้ และนักศึกษาไม่จำเป็นต้องรอเข้าใช้ห้องบริการคอมพิวเตอร์ของสถาบัน สามารถใช้จากจุดใดก็ได้ที่สัญญาณเครือข่ายไร้สายไปถึง ช่วยให้นักศึกษาสามารถใช้งานได้สะดวกและรวดเร็วมากขึ้น
ผู้ให้บริการเครือข่ายไร้สายลดค่าใช้จ่ายในการเดินสายสัญญาณให้เข้าถึงจุด บริการต่างๆ มากขึ้น และสามารถให้บริการในจุดบริการที่สายสัญญาณไม่สามารถเข้าถึงได้เช่นกัน
ผู้บริหารจัดการระบบเครือข่าย สามารถเผ้าตรวจสอบระบบ และปรับเปลี่ยนแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้นกับระบบเครือข่ายจากจุดก็ได้ ทำให้สะดวกและรวดเร็วต่อการจัดการมากขึ้น
ด้านธุรกิจผู้ดูแลสต๊อกสินค้า สามารถตรวจสอบข้อมูลสินค้าต่างๆ ในสต๊อกกับฐานข้อมูลกลางจากที่ใดในโกดังได้ทุกที่ตลอดเวลา
 ผู้ใช้งานสามารถทำงานได้ทุกสถานที่ตามที่ต้องการ ทำให้ผลิดผลของงานเพิ่มมากขึ้นด้วยเช่นกัน
ปัจจุบันความนิยมใช้งานเครือข่ายไร้สายเพิ่มขึ้น เกิดจากการรองรับของอุปกรณ์ WLAN เพิ่มจำนวนขึ้น เช่น โน้ตบุ๊ค (Notebook) และพีดีเอ (PDA) อย่างเช่นโน้ตบุ๊ครุ่มใหม่ที่ผลิดขึ้นจะสามารถใช้งานเครือข่ายไร้สายได้โดย ไม่ต้องมีการ์แลนไร้สายช่วยแต่อย่างใด ที่รู้จักในชื่อ centrino ขณะที่พีดีเอต้องมีอุปกรณ์เสริมจึงจะสามารถใช้งานเครือข่ายไร้สายได้และสามารถสังเกตุได้จากห้างสรรพสินค้า ร้านกาแฟ โรงแรม สนามบิน ที่ให้บริการ WLAN เพิ่มขึ้นในหลายๆ ที่ แสดงให้เห็นถึงต้องการใช้เครือข่ายไร้สายเพิ่มมากขึ้นเช่นกัน (สามารถตรวจสอบจุดบริการ Wireless ได้จาก จุดบริการ Wireless ในกรุงเทพฯ และจุดบริการ Wireless ในต่างจังหวัด)
รูปแบบเครือข่ายไร้สาย
    การเชื่อมต่อเครือข่ายไร้สายมี 2 รูปแบบ คือแบบ Ad-Hoc และ Infrastructure ทั้งสองรูปแบบมีการทำงานดังต่อไปนี้
    1. การเชื่อมต่อแบบกลุ่มส่วนตัว(Ad-Hoc)
การเชื่อมต่อแบบ Ad-Hoc เป็นการเชื่อมต่อที่ประกอบด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไปที่ติดตั้งการ์ดแลนไร้สาย (หรือ Centrino Notebook) ทำการเชื่อมต่อสื่อสารกันโดยตรงไม่ต้องผ่านอุปกรณ์กระจายสัญญาณ (Access Point) โดยเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อแบบนี้สามารถสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลได้ เช่น แชร์ไฟล์ เครื่องพิมพ์หรืออุปกรณ์ต่างๆ การสนทนาแบบวีดีโอคอนเฟอเรนซ์ และเล่นเกมส์แบบวงแลนได้ ซึ่งช่วยให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเชื่อมต่อกันได้โดยไม่ต้องมีสายสัญญาณ แต่การเชื่อมต่อแบบ Ad-Hoc จะไม่สามารถติดต่อสื่อสารกับเครือข่ายมีสายสัญญาณได้ นอกจากจะทำการติดตั้งอุปกรณ์ Acces Point เพื่อให้ Access Point ทำการเชื่อมต่อและส่งข้อมูลไปเครือข่ายมีสายแทน
    2. การเชื่อต่อแบบกลุ่มโครงสร้าง (Infrastructure)
การเชื่อมต่อแบบ Infrastructure เป็นการเชื่อมต่อที่มีอุปกรณ์กระจายสัญญาญ (Access Point) เป็นตัวกลาง (ดังภาพด้านประกอบ) ทำหน้าที่รับส่งสัญญาณและข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ไร้สายของเครือข่ายไร้ สายไปสู่เครือข่ายมีสาย หากสังเกตุจะพบว่า Access Point มีการทำงานเหมือนอุปกรณ์ฮับ (HUB) ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบมีสาย และที่สำคัญหากมีการเข้าใช้งานเครือข่ายไร้สายของเครื่องลูกข่ายในจำนวนมาก ต่อหนึ่ง Access Point จะมีผลทำให้ความเร็วของการสื่อสารเครือข่ายไร้สายช้าลงด้วยเช่นกัน
    ปัจจุบันเครือข่ายไร้สายแบบ Infrastructure ได้รับความนิยมสูง และเป็นเครือข่ายที่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องทั้งทางด้านความเร็วในการสื่อ สารและความปลอดภัยในการแลกเปลี่ยนข้อมูล เครือข่ายไร้สายช่วยให้เกิดความสะดวกมากขึ้นเพราะไม่ต้องเดินสายสัญญาณ สำหรับเครื่องลูกข่าย สามารถปรับเปลี่ยน เคลื่อนย้าย ขยายขนาดของเครือข่ายไร้สายได้ตลอดเวลา ด้วยความสะดวกสบายของเครือข่ายไร้สายทำให้เครือข่ายไร้สายได้รับการยอมรับ จากผู้ใช้มากขึ้นและมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องด้วยเช่นกัน

ข้อดี
1.สามารถเชื่อมต่อได้ง่าย
2.สามารถสืบค้นข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตจากจุดใดจุดหนึ่งได้ทีทีมีwifi
3.นักศึกษาสามารถเข้าถึงบทเรียน Online ต่างๆได้
4.นักศึกษาสามารถใช้งานได้สะดวกและรวดเร็วมากขึ้น
5.ลดค่าใช้จ่ายในการเดินสายสัญญาณ
ข้อเสีย
1.ผู้ใช้งานอาจต้องหาเครื่องรับเครื่องส่งสัญญาณ
2.ผู้ใช้งานต้องมีอุปกรณ์ที่รับสัญญาณ


วันอาทิตย์ที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

ประวัติส่วนตัว

ชื่อ  นายสุรเดช สม่าแห 
ชื่อเล่น ยา
ที่อยู่   27/1 ม.7 ต.ป่าชิง อ.จะนะ จ.สงขลา 90130
เบอร์โทร  0800352688